ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2549
หน้าตา
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ฤดูกาล | 2549 |
---|---|
ทีมชนะเลิศ | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ขนะเลิศไทยลีก สมัยแรก ชนะเลิศลีกสูงสุด สมัยแรก |
ตกชั้น | ไม่มีทีมตกชั้น |
เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2550 | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ |
เอเอฟซี คัพ ฤดูกาล 2550 | โอสถสภา เอ็ม-150 |
ผู้ทำประตูสูงสุด | พิพัฒน์ ต้นกันยา (บีอีซี เทโรศาสน) 12 ประตู |
ทีมเหย้า ชนะสูงสุด | บีอีซี เทโรศาสน 8-1 ทหารบก |
ทีมเยือน ชนะสูงสุด | การไฟฟ้าฯ 0-3 พนักงานยาสูบ สุพรรณบุรี 2-5 ไทยฮอนด้า |
จำนวนประตูสูงสุด | บีอีซี เทโรศาสน 8-1 ทหารบก (9 ประตู) |
← 2547/48 2550 → |
ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2549 เป็นการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 10 มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 12 ทีม ทำการแข่งขันตั้งแต่ วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2549 ถึง วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยปีนี้เป็นปีแรกที่มีสโมสรจาก โปรวินเชียลลีก เข้าร่วมการแข่งขัน (ทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศจาก โปรลีก 2548 ได้แก่ สโมสรชลบุรี และสโมสรสุพรรณบุรี ) เมื่อจบการแข่งขันในฤดูกาลนี้ไม่มีทีมใดต้องตกชั้น เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับโครงสร้างลีก
ภาพรวมก่อนการแข่งขัน
[แก้]ในฤดูกาลนี้ มีการเปลื่ยนแปลงกฎการแข่งขัน เพื่อให้สอดคล้องกับการรวมลีกในอนาคต จึงทำให้ในฤดูกาลนี้จะไม่การเพลย์ออฟเลื่อนชั้น-ตกชั้น รวมไปถึงไม่มีสโมสรตกชั้นในฤดูกาลนี้[1]
สโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขัน
[แก้]สโมสร | ผู้ผลิตชุด | ผู้สนับสนุนบนชุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
การท่าเรือแห่งประเทศไทย | แพน | คาราบาวแดง | |
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค | เดฟโฟ่ | การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค | |
ชลบุรี | เอฟบีที | เบียร์ช้าง | เลื่อนชั้นมาจาก โปรลีก 2548 |
ทหารบก | แกรนด์ สปอร์ต | ไม่มี | เลื่อนชั้นมาจาก ไทยแลนด์ลีก 2 2547/48 |
ไทยฮอนด้า | แกรนด์ สปอร์ต | ฮอนด้า | เลื่อนชั้นมาจาก ไทยแลนด์ลีก 2 2547/48 |
ธนาคารกรุงเทพ | แกรนด์ สปอร์ต | เบียร์ช้าง | |
ธนาคารกรุงไทย | เดียดอร่า | เดียดอร่า | |
บีอีซี เทโรศาสน | อาดิดาส (เลกแรก) ไนกี้ (เลกสอง) |
ไทยทีวีสีช่อง 3 เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (เลกสอง) |
|
พนักงานยาสูบ | ล็อตโต้ | ไม่มี | |
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ | แกรนด์ สปอร์ต | คิง เพาเวอร์ | |
สุพรรณบุรี | เอฟบีที | ไม่มี | เลื่อนชั้นมาจาก โปรลีก 2548 |
โอสถสภา เอ็ม-150 | แกรนด์ สปอร์ต | เครื่องดื่มชูกำลัง เอ็ม-150 |
ตารางคะแนน
[แก้]อันดับ | ทีม | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ประตูได้ | ประตูเสีย | +/- | แต้ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ | 22 | 11 | 6 | 5 | 25 | 17 | +8 | 39 |
2 | โอสถสภา เอ็ม-150 | 22 | 10 | 8 | 4 | 35 | 20 | +15 | 38 |
3 | บีอีซี เทโรศาสน | 22 | 9 | 9 | 4 | 32 | 14 | +18 | 36 |
4 | พนักงานยาสูบ | 22 | 9 | 8 | 5 | 30 | 24 | +6 | 35 |
5 | ธนาคารกรุงเทพ | 22 | 10 | 4 | 8 | 26 | 28 | -2 | 34 |
6 | ทหารบก | 22 | 7 | 9 | 6 | 31 | 38 | -7 | 30 |
7 | การท่าเรือฯ | 22 | 7 | 7 | 8 | 21 | 28 | -7 | 28 |
8 | ชลบุรี | 22 | 5 | 12 | 5 | 29 | 28 | +1 | 27 |
9 | ธนาคารกรุงไทย | 22 | 5 | 10 | 7 | 22 | 26 | -4 | 25 |
10 | การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค | 22 | 6 | 4 | 12 | 23 | 32 | -9 | 22 |
11 | ไทยฮอนด้า | 22 | 4 | 9 | 9 | 23 | 26 | -3 | 21 |
12 | สุพรรณบุรี | 22 | 4 | 4 | 14 | 18 | 34 | -16 | 16 |
ชนะเลิศและผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก | |
ผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเอฟซี คัพ |
ผู้ทำประตูสูงสุด
[แก้]สิ้นสุดเมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2549[2]
12 ประตู
9 ประตู
8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
ใบเหลือง-ใบแดง
[แก้]สิ้นสุดเมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2549[3]
ใบเหลืองมากที่สุด
[แก้]- Kone Lacina - (ชลบุรี) (9 ใบ)
ใบแดงมากที่สุด
[แก้]- Kone Brahima - (โอสถสภา เอ็ม-150) (2 ใบ)
รางวัลประจำฤดูกาล
[แก้]ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมประจำปี
[แก้]ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี
[แก้]ชนะเลิศไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2549 |
---|
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ชนะเลิศครั้งแรก |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://web.archive.org/web/20060702011415/http://fat.or.th/download/Thaileage-2006-Policy.doc ระเบียบการแข่งขันฟุตบอลลีกไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก 2006 - ส.ฟ.ท.
- ↑ https://web.archive.org/web/20060721083832if_/http://fat.or.th:80/fulltables.aspx?LC=TPL Thailand Premier League 2006 - ส.ฟ.ท.
- ↑ https://web.archive.org/web/20060721083832if_/http://fat.or.th:80/fulltables.aspx?LC=TPL Thailand Premier League 2006 - ส.ฟ.ท.